ถ้าเป็นโรคเบาหวาน จะเกิดอะไรขึ้น?
ถ้าตับอ่อนหลั่งอินซูลินน้อย หรือมีน้ำตาลเข้าหลอดเลือดมากเกินไป จะทำให้น้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น สภาพที่น้ำตาลในเลือดสูงเช่นนี้จะเรียกว่า “โรคเบาหวาน”
หลอดเลือดที่ปกติ
หลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
วิธีการรักษาโรคเบาหวานโดยทั่วไปมีวิธีแบบไหนบ้าง?
การรักษาระยะเริ่มแรก
การรักษาระยะกลางถึงระยะปลาย
ทำไมต้องควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยล่ะ?
ในช่วงแรก ๆ มักจะไม่ค่อยมีอาการ และในตอนที่มีอาการจนสังเกตได้ โรคนี้มักจะดำเนินไปถึงระยะกลาง-ระยะปลายแล้ว ภาวะแทรกซ้อนหลัก ๆ ของโรคเบาหวาน ได้แก่ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไต โรคเส้นประสาท และภาวะหลอดเลือดแข็ง
ความเสี่ยงของมะเร็งที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นง่าย
กล่าวกันว่าโรคเบาหวาน เป็นโรคที่รักษาไม่หายหากเป็นโรคแล้ว นอกจากนี้ ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งและภาวะแทรกซ้อนอีกมากมายด้วย ในตอนที่เริ่มมีอาการ เรามักจะพบว่าโรคเบาหวานดำเนินไปมากแล้ว
ลักษณะเด่นของเวชศาสตร์ฟื้นสภาพคลินิกของเรา
เวชศาสตร์ฟื้นสภาพสำหรับโรคเบาหวานของคลินิกเราที่ทำภายใต้การอนุญาตของกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการ
การฉีดสเต็มเซลล์ทางหลอดเลือดดำ
อาการดีขึ้นจากการฉีดสเต็มเซลล์ทางหลอดเลือดดำ
ความแตกต่างระหว่างการรักษาแบบดั้งเดิมและเวชศาสตร์ฟื้นสภาพ
ในการรักษาโรคเบาหวานด้วยเวชศาสตร์ฟื้นสภาพ สเต็มเซลล์จะทำหน้าที่ฟื้นสภาพและซ่อมแซมตับอ่อนและหลอดเลือด เพื่อเพิ่มการหลั่งอินซูลินและกระตุ้นการเก็บน้ำตาลของหลอดเลือด และลดระดับน้ำตาลในเลือดในเวลาต่อมา นอกจากนี้ยังมีผลในการยับยั้งการอักเสบจากโรคเบาหวาน ทำให้อาการแทรกซ้อนดีขึ้นได้อีกด้วย
สามารถคาดหวังผลการรักษาเหล่านี้ได้
“การรักษาโรคเบาหวานด้วยเวชศาสตร์ฟื้นสภาพ” เป็นการรักษาที่มีโอกาสรักษาโรคเบาหวานที่กล่าวกันว่าไม่หายขาดที่ต้นเหตุได้
ขั้นตอนการรักษาด้วยสเต็มเซลล์จากไขมันของตัวเอง
LICENSE
สถาบันการแพทย์ที่ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการ
การรักษาโรคเบาหวาน โดยใช้สเต็มเซลล์ที่ได้มาจากไขมันของผู้ป่วยเอง
คลินิกของเราเป็นหนึ่งในไม่กี่แห่งในญี่ปุ่น ที่มีเวชศาสตร์ฟื้นสภาพที่ล้ำสมัยสำหรับ “โรคเบาหวาน” ฯลฯ โดยใช้สเต็มเซลล์ของผู้ป่วยเองในการรักษา และการฉีด PRP (พลาสม่าเกล็ดเลือดเข้มข้น) ภายในข้อ ภายใต้กฎหมายความปลอดภัยเวชศาสตร์ฟื้นสภาพ เวชศาสตร์ฟื้นสภาพ ต้องได้รับการตรวจสอบอย่างเข้มงวดโดยคณะกรรมการเวชศาสตร์ฟื้นสภาพที่ได้รับการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการ และหลังจากที่วิธีการรักษา ความปลอดภัย โครงสร้างบุคลากรทางการแพทย์ ฯลฯ ถูกพิจารณาว่าเหมาะสมแล้วเท่านั้น จึงจะยื่นแผนการรักษาไปยัง กระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการได้